
ต้นเกล็ดปลา เป็นพืช ส มุ น ไ พ ร ชนิดหนึ่งที่มีรูปร่างคล้ายเกล็ดของปลา หลายคนอาจไม่คุ้นหน้าคุ้นตากัน ม า ก นัก หรือบางพื้นที่อาจจะมีชื่อเรียกที่ แ ต ก ต่างกันไป วันนี้เราจะพาไปรู้จักพืชชนิดนี้กันค่ะ ส ร ร พ คุ ณ มีอะไรบ้างไปดูกันเลยจ้า
ลักษณะของเกล็ดปลา
1 ต้นเกล็ดปลา
จัดเป็นพรรณไม้พุ่ม มีความสูงได้ประมาณ 1.5-2.5 เมตร ลำต้นตั้งตรง แ ต ก กิ่งก้านโปร่ง ตามกิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนนุ่ม ปลายกิ่งย้อยลง ข ย า ยพันธุ์ด้วยเมล็ด พบขึ้นในจีนตอนใต้จนถึงมาเลเซีย โดยมักขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าผลัดใบที่ชื้น และป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงประมาณ 400-800 เมตร
2 ใบเกล็ดปลา
ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ มีใบย่อย 3 ใบ ลักษณะของใบย่อยที่อยู่ตรงกลางจะเป็นรูปไข่แกมรูปหอก หรือรูปไข่แกมขอบขนาน ปลายใบแหลม โคนใบมนถึงหยักเว้าเล็กน้อย ด้านล่างมีขนนุ่มแน่น มีขนาดกว้างประมาณ 5-8 เซนติเมตร และ ย า วประมาณ 8-12 เซนติเมตร ส่วนใบย่อยด้านข้างจะมีขนาดเล็กกว่าเล็กน้อย โดยจะมีขนาดกว้างประมาณ 3-4 เซนติเมตร และ ย า วประมาณ 6-8 เซนติเมตร ขอบใบเรียบ หลังใบและท้องใบมีขน ก้านใบย่อย ย า วได้ประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร
3 ดอกเกล็ดปลา
ออกดอกเป็นช่อกระจุกตามซอกใบที่ปลายกิ่ง กลุ่มละ 5-15 ดอก ดอกมีใบประดับลักษณะคล้ายเกล็ดปลาขนาดใหญ่ประกบหุ้มไว้ 2 ใบ ทั้งสองด้าน รูปกลมรี มีขนาดกว้างประมาณ 2-3.5 เซนติเมตร และ ย า วประมาณ 2.5-4.5 เซนติเมตร มีสีเขียวไม่เข้ม ม า ก ประกบซ้อนกัน ลักษณะเป็นรูปทรงกระบอก ย า วหรือรูปแท่งย้อยออกมา กลีบดอกย่อยเป็นสีขาว ลักษณะเป็นรูปดอกถั่ว มีขนาดเล็ก
4 ผลเกล็ดปลา
ผลมีลักษณะเป็นฝักแบน ย า ว รูปขอบขนาน คอดเป็นข้อ ๆ ระหว่างเมล็ดประมาณ 2-5 ข้อ เมื่อแห้งจะหลุดเป็นข้อ ๆ ฝักมีขนาดกว้างประมาณ 4 มิลลิเมตร และ ย า วประมาณ 0.7-2.5 เซนติเมตร ผิวฝักมีขนขึ้นปกคลุม เมล็ดมีขนาดเล็กและแข็ง มีลักษณะเป็นรูปไต
ส ร ร พ คุ ณ ของเกล็ดปลา
1. ร า กเกล็ดปลา ใช้ผสมกับร า กกระดูกอึ่ง ร า กกาสามปีกใหญ่ ร า กโมกมัน และร า กหางหมาจอก ใช้ต้มดื่มเป็น ย า แก้คุณไสย (มี อ า ก า ร ผอมแห้ง ใจสั่น บางเวลาเพ้อคลั่ง และร้องไห้) (ร า ก)
2 หมอ ย า พื้นบ้านจังหวัดมุกดาหารจะใช้ร า กเป็น ย า แก้ไข้ (ร า ก)
3 ใบมีรสจืด ใช้ต้มดื่มเป็น ย า แก้ไข้ แก้ไข้จับสั่น (ใบ)
4 หมอ ย า พื้นบ้านจังหวัดอุบลราชธานี จะใช้ร า กต้มกับน้ำดื่มเป็น ย า แก้ ริ ด สี ด ว ง ทวาร (ร า ก)
5 ใบใช้ต้มดื่มเป็น ย า แก้ปัสสาวะดำ (ใบ)
6 ร า กมีรสจืดเฝื่อน ใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็น ย า แก้โ ร ค ตั บ พิ ก า ร ( อ า ก า ร ผิดปกติของ ตั บ ) (ร า ก)
7 เปลือกร า กมีรสจืดเฝื่อน ใช้ตำพอกแก้ปวด แก้เคล็ดบวม (เปลือกร า ก)
ประโยชน์ของเกล็ดปลา
สามารถนำมาปลูกเป็นไม้ประดับตามสวนได้ ให้รูปทรงสวยงามดู แ ป ล ก ต า
จะเห็นได้ว่า ส มุ น ไ พ ร เกล็ดปลาอาจจะเป็น ส มุ น ไ พ ร ที่ไม่ค่อยคุ้นตากัน ม า ก นัก แต่กลับมี ส ร ร พ คุ ณ ในการ รั ก ษ า โ ร ค ได้ ม า ก มาย เห็นแบบนี้แล้วก็อย่าลืมมีไว้ในบ้านกันสักต้นนะคะ
ขอบคุณที่มาข้อมูล samunpaisecrete