
ถือเป็นอีกหนึ่งเรื่องราว ครั้นถึงสมัยประวัติศา ส ต ร์ ก็มีความเจริญรุ่งเรืองมาตั้งเเต่สมัยทวารวดีซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองเสมา ตั้งอยู่บริเวณอำเภอสูงเนินในปัจจุบัน เป็นเมืองใหญ่ เชื่อกันว่าเป็นที่ตั้งของรัฐศรีจนาศะ ต่อมาในสมัยขอมพระนครมีการสร้างเมืองนครรา ชอยู่ในบริเวณเดียวกัน โดยมีเมืองพิมายเป็นเมืองสำคัญ
เมื่อล่วงเข้าสู่สมัยรัตนโกสินทร์ ขุนนางที่มาปกครองเมืองนครรา ชสีมาเเละเมืองบริวารก็ถูกส่งมาจากกรุงเทพฯ ทำให้เกิดการผสมผสานทางชาติพันธุ์กับกลุ่มชาวพื้นถิ่นที่อยู่เดิมเป็นชาวไทโครา ช ซึ่งมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเองในด้านต่างๆ ทั้งเครื่องเเต่งกาย อาหารการกิน บ้านเรือนที่อยู่อาศัย ย ารัпษาโร ค ประเพณีพิธีกรรม ความเชื่อ ดนตรี นามสกุลคนโครา ช เเละที่สำคัญคือ ภาษาโครา ช ซึ่งเเตกต่างกันออกไปในเเต่ละท้องถิ่น
ชาวไท ย โครา ชเเต่งกายเเบบไท ย ภาคกลาง รับประทา นข้าวเจ้า อาหารทั่วไปคล้ายคลึงภาคกลาง ขนบธรรมเนียม ประเพณี เเละวัฒนธรรมคล้ายไท ย ภาคกลาง พูดสำเนียงเหน่อเเบบ คนกรุงศรีอยุธย า สำเนียงหลวง ซึ่งปัจจุบันถูกเรียกว่า สำเนียงโครา ช ปัจจุบัน กลุ่มไท ย โครา ชอาศัยอยู่ในทุกอำเภอในจังหวัดนครรา ชสีมา ยกเว้นบางอำเภอที่มีชาวไท ย อีสานมากกว่า เช่น อำเภอบัวใหญ่ ปักธงชัย เเละสูงเนิน เเละยังพบชาวไท ย โครา ชในบางส่วนของ จังหวัดสระบุรี จังหวัดลพบุรี จังหวัดชัยภูมิ (อำเภอบำเหน็จณรงค์เเละจัตุรัส) จังหวัดบุรีรัมย์ (อำเภอเมืองบุรีรัมย์ นางรอง เเละหนองกี่)
ชาวไท ย อีสาน เป็นกลุ่มหนึ่งที่มีจำนวนประชากรมากรองจากกลุ่มไท ย โครา ช อาศัยอยู่มากในบางอำเภอของจังหวัดนครรา ชสีมา เช่น อำเภอบัวใหญ่ อำเภอบัวลาย อำเภอสีดา อำเภอเเก้งสนามนาง อำเภอประทาย อำเภอโนนเเดง อำเภอบ้านเหลื่อม อำเภอเมืองย าง อำเภอลำทะเมนชัย อำเภอปักธงชัย อำเภอสูงเนิน เเละบางส่วนของอำเภอคง อำเภอห้วยเเถลง อำเภอชุมพวง อำเภอครบุรี อำเภอเสิงสาง เเละอำเภอสีคิ้ว เป็นต้น
ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ รา ชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ฝรั่งเศส ชื่อ ซีมง เดอ ลา ลูเเบร์ (Simon de La Loubère) เข้ามากรุงศรีอยุธย า ท่านรา ชทูต ลาลู เเบ เขียนรายงานว่า เมืองโครา ชสีมา (Corazema) เป็นหัวเมืองใหญ่ สมเด็จพระนารายณ์ว่าจ้างนายช่างฝรั่งเศสออกเเบบกำเเพงเมืองโครา ช กว้าง 1,000 เมตร ย าว 1,700 เมตร กำเเพงเมืองมีป้อมค่ายหอรบ พระรา ชทา นชื่อเมืองว่า นครรา ชสีมา
ขอบคุณที่มาข้อมูล ให้ความรู้
เรียบเรียง showbizinfoo