
การรับ ม ร ด ก ที่ดิน นั้นก็คือ เมื่อผู้ที่มีชื่อในเอก ส า ร สิทธิเกี่ยวกับที่ดิน (เช่น โฉนดที่ดิน หรือ น.ส. หรือ น.ส.3 ก. หรือ น.ส.3 ข.) ได้ถึงแก่ ก ร ร ม ไป ในทาง ก ฎ ห ม า ย แล้วที่ดินเหล่านั้นก็จะถือเป็น ม ร ด ก ซึงจะตกทอดแก่ ท า ย า ท ของผู้ ต. า ย โดยสิทธิตาม ก ฎ ห ม า ย หรือโดยพินัย ก ร ร ม ที่เจ้า ม ร ด ก ทำไว้ ซึ่งล่าสุดมีสมาชิกพันทิปท่านหนึ่ง ได้ตั้งกระทู้ถามว่า ที่ดิน อ ย า กรู้ว่าระหว่างลูกกับน้องสาวแม่ใครมีสิทธิในที่ดินของแม่ ซึ่เราหาข้อมูลคราวๆมาให้ดังนี้
การรับ ม ร ด ก ที่ดิน ท า ย า ท ที่มีสิทธิตาม ก ฎ ห ม า ย หรือ ท า ย า ท โดยธรรม มี 7 ลำ ดั บ ดังนี้ต่อไปนี้
1 ผู้สืบ สั น ด า น (บุตร, หลาน, เหลน, ลื้อ)
2 ภรร ย า หรือสามี (ต้องได้จด ท ะ เ บี ย น สมรสกันเท่านั้น)
3 บิดาและมารดา
4 พี่น้องร่วมสายเลือด ทั้งบิดาและมารดาเดียวกัน
5 พี่น้องร่วมบิดา หรือ มารดาเดียวกัน
6 ปู่ย่า ต. า ย าย
7 ลุง ป้า น้า อา
ตาม ก ฎ ห ม า ย แล้ว ใครมีสิทธิรับ ม ร ด ก ขึ้นอยู่กับผู้ ต. า ย ซึ่งเป็นเจ้าของ ม ร ด ก ได้ทำพินัย ก ร ร ม ไว้ก่อน ต. า ย หรือไม่ ถ้าทำไว้ทรัพย์ ม ร ด ก ก็จะตกเป็นของบุคคลที่ได้ระบุไว้ในพินัย ก ร ร ม ซึ่งอาจเป็นญาติหรือผู้อื่นที่ไม่ใช่ญาติของเจ้าของ ม ร ด ก ก็ได้ แต่ถ้าผู้ ต. า ย ไม่ได้ทำพินัย ก ร ร ม ไว้ ทรัพย์ของ ม ร ด ก ก็จะตกเป็นของ ท า ย า ท ตาม ก ฎ ห ม า ย หรือ ท า ย า ท โดยธรรม ซึ่งเป็นญาติชั้นสนิทหรือชั้นห่างของเจ้า ม ร ด ก นั้นเอง
สำหรับส่วนแบ่ง ม ร ด ก ของญาติโดยธรรมมีหลักอยู่ว่า ญาติลำ ดั บ เดียวกัน จะได้รับส่วนแบ่งเท่ากัน หากคู่ ม ร ด ก มีคู่สมรสและมีลูก คู่สมรสจะมีสิทธิเท่ากับลูกคนหนึ่ง แต่หากเจ้า ม ร ด ก ไม่มีลูก แต่มีพ่อแม่หรือมีพี่น้องพ่อเดียวแม่เดียวกันและมีคู่สมรส คู่สมรสได้ครึ่งนึง อีกครึ่งหนึ่งแบ่งให้กับญาติ หากเจ้า ม ร ด ก ไม่มี ท า ย า ท ลำ ดั บ ที่ 1,2,3,4 แต่มี ท า ย า ท ลำ ดั บ ที่ 5 คือพี่น้องพ่อเดียวกันหรือแม่เดียวกัน หรือลำ ดั บ ที่ 6,7 คือปู่ย่า ต. า ย าย และลุง ป้า น้า อา คู่สมรสได้ ม ร ด ก 2 ใน 3 ส่วน อีก 1 ใน 3 ส่วน ให้แก่ญาติไปแบ่งกัน ส่วนกรณีถ้าไม่มี ท า ย า ท ซึ่งเป็นญาติ ม ร ด ก จะตกแก่คู่สมรสทั้งหมด
ความคิดเห็นจากสมาชิกที่ได้แนะนำ
บุตรได้รับ100%
น้าเป็น ท า ย า ท ลำ ดั บ ลอง ฉะนั้นลูกได้แน่นอน
สำหรับขั้นตอนและหน่วยงานเพื่อการขอจด ท ะ เ บี ย น รับ ม ร ด ก ผู้มีสิทธิได้รับ ม ร ด ก กรณีเป็นที่ดินจะต้องไปขอจด ท ะ เ บี ย น รับโดน ม ร ด ก ที่ดินนั้นที่สำนักงานที่ดินจังหวัด หรือสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา ในกรณีที่มีเอก ส า ร สิทธิเป็นโฉนดที่ดิน น.ส.3 ข. และสำนักงานที่ดินอำเภอ ในกรณีที่มีเอก ส า ร สิทธิเป็น น.ส.3 ก., น.ส. 3 ถ้าท้องที่ใดที่ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกเลิกอำนาจหน้าที่ของนายอำเภอเกี่ยวกับปฏิบัติการตาม ก ฎ ห ม า ย ที่ดินแล้ว ไม่ว่าที่ดินจะเป็นโฉนดที่ดิน น.ส. 3ก. หรือ หรือ น.ส.3 หรือ น.ส.3 ข.จะต้องไปขอจด ท ะ เ บี ย น ที่สำนักงานที่ดิน จังหวัด หรือสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขาที่ที่ดินตั้งอยู่
ตาม ก ฎ ห ม า ย แล้ว ใครมีสิทธิรับ ม ร ด ก ขึ้นอยู่กับผู้ ต. า ย ซึ่งเป็นเจ้าของ ม ร ด ก ได้ทำพินัย ก ร ร ม ไว้ก่อน ต. า ย หรือไม่ ถ้าทำไว้ทรัพย์ ม ร ด ก ก็จะตกเป็นของบุคคลที่ได้ระบุไว้ในพินัย ก ร ร ม ซึ่งอาจเป็นญาติหรือผู้อื่นที่ไม่ใช่ญาติของเจ้าของ ม ร ด ก ก็ได้ แต่ถ้าผู้ ต. า ย ไม่ได้ทำพินัย ก ร ร ม ไว้ ทรัพย์ของ ม ร ด ก ก็จะตกเป็นของ ท า ย า ท ตาม ก ฎ ห ม า ย หรือ ท า ย า ท โดยธรรม
เรียบเรียง showbizinfoo