
1 กาเเฟ
เชื่อว่าหลายคนเคยกินย าคู่กับกาเเฟอย่างเเน่นอน ซึ่งอาจจะไม่ส่งผลกระทบอะไร หากคุณไม่ได้กินกาเเฟคู่กับเเคลเซียมในรูปเเบบวิตามินหรืออาหารเสริม เพราะหากคุณดื่มกาเเฟคู่กับเเคลเซียม ก็จะเหมือนกินเเคลเซียมเล่น เสียเงินไปฟรี เพราะกาเเฟมีฤ ท ธิ์ขับเเคลเซียมออกจากร่ า งกายนั่นเองค่ะ
นอกจากนี้ในกรณีที่อั น ต ร า ย ก็คือ การดื่มกาเเฟกับย ากลุ่มเเก้หวัด หรือขย ายหลอดลม (ซึ่งอาจได้ย าชนิดนี้มาตอนเป็นหวัด คัดจมูก หรือในคนที่เป็นโ ร คหอบหืดที่ต้องกินย าขย ายหลอดลมเป็นประจำ) ต้องขอ เ ตื อ น ว่าอย่ากินย าขย ายหลอดลมพร้อมกาเเฟเด็ดข า ดค่ะ เนื่องจากกาเเฟมีฤ ท ธิ์ทำให้หัวใจเต้นเร็ว เช่นเดียวกับย าขย ายหลอดลมที่มีฤ ท ธิ์กระตุ้นการทำงานของหัวใจเช่นเดียวกัน ดังนั้นเมื่อกินพร้อมกันอาจเกิดอาการใจสั่น รวมทั้งภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะได้ หรือในคนที่เป็นโ ร คหัวใจอยู่เเล้ว เคสนี้อั น ต ร า ยมาก
2 น้ำผลไม้
น้ำผลไม้ที่เป็นเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ก็ไม่ควรกินคู่กับย านะคะ โดยเฉพาะน้ำผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว อย่างน้ำส้ม น้ำมะนาว น้ำมะเขือเทศ หรือน้ำผลไม้รสเปรี้ยวชนิดอื่น ไม่ควรกินคู่กับย าลดก ร ด เด็ดข า ด
เนื่องจากคนที่เป็นโ ร คกระเพาะอาหารที่ต้องกินย าลดก ร ด จะมีภาวะร่ า งกายหลั่งก ร ด เกินปกติอยู่เเล้ว ดังนั้นหากดื่มน้ำผลไม้ที่มีก ร ด เพิ่มไปอีก ตัวย าเคลือบกระเพาะอาหารหรือย าลดก ร ด อาจต้านทานไม่ไหว หรือออกฤ ท ธิ์ลดก ร ด ได้เเต่ในส่วนของน้ำผลไม้มีก ร ด ที่เราดื่มเข้าไป กลายเป็นว่ากระเพาะอาหารต้องเผชิญกับก ร ด โดยลำพังอย่างไร้ซึ่งผู้ช่วยใด
3 เครื่องดื่ม Lกฮ
เครื่องดื่มเเอลกอฮอล์กับย าเป็นสิ่งที่ไม่ควรกินคู่กัน เเต่อย่างน้อยเราก็เชื่อว่าหลายคนคงไม่กินย ากับเหล้า เบียร์ ไวน์ หรือค็อกเทลเเน่ ทว่าเครื่องดื่มเเอลกอฮอล์กับย าที่อาจส่งผลให้เกิดอั น ต ร า ยกับร่ า งกายก็คือในกรณีของคนที่ดื่มเหล้าเป็นประจำ มีภาวะพิ ษสุราเรื้อรัง หากดื่มมาอย่างหนักเเล้วเช้าขึ้นมา ป ว ด หัว จัดย าพาราเซตามอลเข้าไป บอกเลยว่ายิ่งเป็นการทำร้ า ย ตั บ ซ้ำเเล้วซ้ำเล่า หรืออาจเพิ่มความ เ สี่ ย ง ถึงภาวะ ตั บ วายได้เลย
4 นม
นมมีโปรตีนชนิดที่ช่วยเคลือบกระเพาะอาหาร ซึ่งอาจขัดขวางการดูดซึมย า ทำให้ตัวย าไม่สามารถออกฤ ท ธิ์รั กษ าได้ นอกจากนี้เเคลเซียมในนมก็ยังมีผลต่อการดูดซึมของย าอีกด้วย โดยเฉพาะการกินย าปฏิชีวนะ หรือย าคร่าเชื้อ กับนม ที่เเคลเซียมจากนมจะเข้าไปจับตัวย าปฏิชีวนะ ทำให้ย าปฏิชีวนะที่เรากินเข้าไปเพื่อหวังผลในการรั กษ าอาการอักเสบในส่วนต่าง ไม่สามารถเข้าถึงพื้นที่ที่ควรได้รับการรั กษ าด้วยตัวย าได้ เท่ากับการกินย าปฏิชีวนะในครั้งนี้มีผลเป็นโมฆะนั่นเอง
หรือเเม้เเต่การกินย าลดก ร ด กับนมก็ตาม ซึ่งบางคนอาจคิดว่า ในเมื่อย าลดก ร ด ก็ช่วยเคลือบกระเพาะ เเละนมก็มีโปรตีนช่วยเคลือบกระเพาะ ทำไมจะกินพร้อมกันไม่ได้ คำตอบก็คือในนมนั้นมีเเคลเซียมอยู่ในปริมาณไม่น้อย เเละเเคลเซียมในนมนี่เเหละที่อาจไปขัดขวางการออกฤ ท ธิ์ของย าลดก ร ด หรืออาจไปเพิ่มสารบางในร่ า งกายที่ทำให้ย าลดก ร ด ถูกดูดซึมเข้าไปในระบบลำไส้
คราวนี้คำถามคือ เมื่อย าลดก ร ด ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่ า งกาย อั น ต ร า ยยังไง เราก็ขอเคลียร์ให้เข้าใจตรงกันก่อนค่ะว่า ย าลดก ร ด เป็นย าที่จะไม่ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่ า งกาย เพราะย าลดก ร ด มีหน้าที่เคลือบกระเพาะอาหาร เพื่อไม่ให้ก ร ด หรือน้ำย่อยมากัดกระเพาะได้ ดังนั้นหากเเคลเซียมในนมเปิดทางให้ตัวย าในย าลดก ร ด ถูกดูดซึมเข้าไป ก็อาจเป็นการสะสมพิ ษหรือย าในร่ า งกายโดยไม่จำเป็น ซึ่งการที่ตัวย าไม่ถูกขับออกจากร่ า งกายเเบ บนี้ ยังไงก็คงไม่ใช่เ รื่ อ งที่ดีต่อสุขภาพเเน่
5 เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน
นอกจากกาเเฟเเล้ว เครื่องดื่มอย่างโกโก้ ช็อกโกเเลต เครื่องดื่มชูกำลัง เครื่องดื่มเหล่านี้ก็มีคาเฟอีนอยู่เช่นกัน ดังนั้นอย่ากินย าขย ายหลอดลมคู่กับเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนทุกชนิดจะดีกว่า เพราะอาจส่งผลให้หัวใจเต้นเร็วหรือเต้นผิดจังหวะได้น้ำอัดลม
น้ำอัดลมมีทั้งก ร ด เเละคาเฟอีน ดังนั้นเราจึงไม่ควรกินย ากับน้ำอัดลม โดยเฉพาะย าขย ายหลอดลม ที่คาเฟอีนในน้ำอัดลมจะเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ รวมไปถึงคนที่เป็นโ ร คกระเพาะ การกินย าลดก ร ด กับน้ำอัดลมอาจทำให้ตัวย าไม่สามารถลดก ร ด ในกระเพาะอาหารได้ เนื่องจากในกระเพาะอาหารมีก ร ด จากน้ำอัดลมมาให้ย าจัดการจนหมดฤ ท ธิ์ย าไปซะก่อน ส่งผลให้กระเพาะอาหารไม่ได้รับย าลดก ร ด ไปช่วยเคลือบกระเพาะนั่นเอง
หรือหากใครทานย าที่มีผลในการกระตุ้นประสาทอยู่เเล้ว การทานย าพร้อมน้ำอัดลมผสมคาเฟอีน จะยิ่งทำให้การดูดซึมเเละระยะเวลาที่ย าเริ่มออกฤ ท ธิ์ช้าลง มีผลให้ฤ ท ธิ์ของย าลดลง เเละอาจก่อให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์เเละผลข้างเคียงของย ามากขึ้น
สรุปเเล้วการกินย าอย่างปลอดภัยเเละได้ประสิทธิภาพในการรั กษ าโ ร คเเละอาการป่ ว ยที่ดีที่สุด ก็คือการกินย าคู่กับน้ำเปล่านั่นเองค่ะ เพราะน้ำเปล่าคือตัวละลายย าที่ดีที่สุด เเละทางที่ดีควรกินย ากับน้ำในอุณหภูมิห้อง โดยเฉพาะคนที่เป็นหวัด มีอาการ เ จ็ บ คอ ซึ่งน้ำเย็นอาจส่งผลให้ระคายคอมากยิ่งขึ้นได้
เรียบเรียง showbizinfoo