
ผักเบี้ยใหญ่ มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ผักตาโค้ง (นครราชสีมา), ผักอีหลู ตะก้ง (อุบลราชธานี), ผักเบี้ย ด อ ก เหลือง (ภาคกลาง), ผักอีหลู (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน), แบขี่เกี่ยง ตือบ้อฉ่าย (จีนแต้จิ๋ว) เป็นต้น
มีฤทธิ์ ส ร ร พ คุ ณ เป็นธาตุเย็น ตามบ้านเราจะเห็นได้ตามท้องถนนทั่วไป คล้ายวัชพืชที่ขึ้นตามซอกกำแพง คนจึงไม่ค่อยสนใจเท่าไหร่ แต่ ส ร ร พ คุ ณ ม า ก มายเลยทีเดียว มีอะไรบ้างนั้น ไปดูกันเลยค่ะ
ผักเบี้ยใหญ่ มีโอเมก้า 3 สูง ม า ก กว่าน้ำมันปลาเสียอีก ซึ่งกรดไ ข มั น ชนิดนี้ขึ้นชื่อในเรื่องการบำรุงสมอง เสริมสร้างความจำ อีกทั้ง อุดมไปด้วยสารเบต้าแคโรทีน
นอกจากนี้ ยังมีวิตามินซี ที่ช่วยแก้อาการ โ ร ค ลักปิดลักเปิด แก้หวัด แก้ไอ ปกป้องผิวจากแสงแดด รักษา โ ร ค ผิวหนัง ต้านมะเร็ง ปกป้องหัวใจและสมอง
สามารถใช้ใบหรือยอด ส ด ๆ พอก ห้ า ม เ ลื อ ด ทาแก้แมลง สั ต ว์ กัดต่อย ช่วยรักษา โ ร ค สะเก็ดเงินหรือ โ ร ค เรื้อนกวางได้
ส ร ร พ คุ ณ ผักเบี้ยใหญ่ตามตำรับ ย า
ใบ : แก้ไอแห้ง แก้ขัดเบา เป็น ย า ขับปัสสาวะ แก้กระหายน้ำ ตำพอกหรือทาแก้เเ ผ ล อั ก เ ส บ บ ว ม เเ ผ ล ไฟไหม้น้ำร้อน ล ว ก แก้ริดสีดวงทวารปวด บ ว ม
ทั้งต้น : แก้บิดถ่ายเป็น เ ลื อ ด แก้เเ ผ ล เ น่ า เ ปื่ อ ย แก้เหงือก บ ว ม แก้เจ็บคอ เ ลื อ ด ออกตามไรฟัน แก้ไอ ขับเสมหะ ช่วยให้เจริญ อ าห า ร ช่วยหล่อลื่นลำไส้ ช่วย ห้ า ม เ ลื อ ด
เมล็ด : ใช้ขับพ ย า ธิ เป็น ย า ระบายอ่อน ๆ ช่วยขับปัสสาวะได้
น้ำคั้นของต้น : นำมาทาแก้เเ ผ ล แมลงกัดต่อย
การเก็บมาใช้
ให้เก็บในระยะที่ใบและต้นเจริญงอกงามดีและกำลังออก ด อ ก เช่น ในช่วงฤดูฝน ฤดูหนาว และให้เก็บในวันที่ไม่มีฝน โดยตัดมาทั้งต้น ล้างน้ำให้สะอาด ล ว ก น้ำร้อนแล้วรีบเอาขึ้นมาแช่ในน้ำเย็น เอาขึ้นมาผึ่งให้สะเด็ดน้ำ แล้วนำไปตากแห้งบนเสื่อเก็บเอาไว้ใช้ หรือนำมานึ่งแล้วใช้ได้เลย หรือจะใช้ ส ด เลยก็ได้
วิธีและขนาดที่ใช้
ใช้ต้นแห้งหนัก 10-15 กรัม (ต้น ส ด หนัก 60-120 กรัม) ต้มเอาน้ำ หรือคั้นเอาน้ำกิน ใช้ภายนอก ผิงไฟให้แห้งบดเป็นผง ผ ส ม น้ำทา หรือต้มเอาน้ำชะล้างบริเวณที่เป็น
คุณค่าทาง อ าห า ร ของผักเบี้ยใหญ่
จากข้อมูลของกองโภชนาการ กรมอนามัย ระบุว่า ส่วนยอดอ่อนของผักเบี้ยใหญ่ในปริมาณ 100 กรัม ให้คุณค่าทาง อ าห า ร ดังนี้
พลังงาน 37 กิโลแคลอรี
โปรตีน 2.2 กรัม
ไ ข มั น 0.3 กรัม
คอเลสเตอรอล 7.9 กรัม
แคลเซียม 115 มิลลิกรัม
ฟอสฟอรัส 40 มิลลิกรัม
เหล็ก 1.4 มิลลิกรัม
วิตามินเอ 2,200 IU
วิตามินบี 1 0.06 มิลลิกรัม
วิตามินบี 2 0.14 มิลลิกรัม
ไนอะซิน 0.8 มิลลิกรัม
วิตามินซี 21 มิลลิกรัม
ส่วน ม า ก คนนิยมนำยอดอ่อนและใบอ่อนของผักเบี้ยใหญ่มาทานเป็นผัก ส ด ต้ม ล ว ก หรือทำเป็นผักสลัด ใส่ในไข่เจียว บ้างก็จิ้มกับน้ำพริก ทำน้ำบูดู หรือทำแกงส้ม เพราะมีรสชาติออกเปรี้ยว
ขอบคุณที่มาข้อมูล samunpaisecrete