
สิ่งก่อสร้างใน ส มั ย เก่าไม่ว่าจะเป็นบ้าน วัดวาอาราม สถานที่ต่างๆ มีการสร้างและออกแบบแบบคน โ บ ร า ณ ใช้ฝีมือในการก่อสร้างล้วนๆ และยังคงหลงเหลือให้เห็นในปัจจุบันที่คน ส มั ย นี้เห็นแล้วทึ่งเป็นอย่าง ม า ก ฝีมือของคน ส มั ย ก่อนไม่มีเทคโนโลยีแต่สร้างออกมาได้แข็งแรง และทนทาน ม า ก
มีทางด้านผู้ใช้เฟสบุ๊ก ขวัญทอง สอนศิริ ได้โพสต์ภาพภูมิปัญญาสถาปัตยกรรม โ บ ร า ณ ป ร า ส า ท เสาเดียว ฝีมือของช่าง ช า ว บ้ า น ที่วัดโคกผัก ห ว า น จ. พิษณุโลก อายุราว 60 ปี แต่ยังไม่ล้ม โดยได้โพสต์ระบุว่า…
กว่ากึ่งศตวรรษ ป ร า ส า ท เสาเดียว ภูมิปัญญาสถาปัตยกรรม ฝีมือช่างพื้นบ้านอายุการสร้าง 60 ปี พ.ศ. 2502 “ วัดโคกผัก ห ว า น “ หมู่ 9 ริมน้ำคับ เชิงเขากะไดม้า ต. ชาติตระการ อ. ชาติตระการ จ. พิษณุโลก
ป ร า ส า ท เสาเดียว หรือ หอไตรเสาเดียว หลังนี้ พบว่า เป็นอาคารไม้ทั้งหลัง ตั้งอยู่บนเสาไม้ ขนาดความเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 50 เซนติเมตร สูงจากพื้นประมาณ 1 เมตร
ในส่วนของแกนหลักใช้รับน้ำหนักศาลาไม้ 2 ชั้น มีระเบียงไม้ โดยรอบทั้ง 2 ชั้น และ ป ร ะ ดั บ เชิงชายด้วยไม้แกะสลักลงสี ฝาเป็นไม้ มีบันไดไม้ขึ้นสู่ชั้น 2 ก่อสร้าง เมื่อปี พ.ศ. 2502 ด้วยฝีมือช่างไม้พื้นบ้าน” พระอาจารย์คำ สิงห์รัก – นายไท้ สิงห์รัก “ ใน อ ดี ต เคยใช้เป็น “ หอไตร และ ปฏิบัติ ธร ร ม ภายหลังวัดโคกผัก ห ว า น ไม่มี พระจำพรรษา จึงร้างทรุดโทรมไป
ช า ว บ้ า น โคกผัก ห ว า น จึง ได้ร่วมใจกัน ถวายการบูรณะ ซ่อมแซม เพื่อใช้เก็บรักษาสิ่งสำคัญทางศาสนาของ ช า ว บ้ า น โคกผัก ห ว า น เก็บไว้เป็น แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาชุมชนทีอบถิ่นสืบไป
ป ร า ส า ท ไม้เสาเดียว หรือ หอไตรเสาเดียว แม้จะผ่านการบูรณะ ซ่อมแซม อย่างต่อเนื่อง แต่ไม้ส่วนใหญ่ยังคงเป็นไม้เดิม ที่มีอายุการสร้างมา 60 ปี จะ มีเพียงหลังคา กระเบื้องไม้ เ ป ลี่ ย น มาเป็น สังกะสี
เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำรั่วลงมาจนทำให้ไม้ผุ และในการบูรณะครั้งล่าสุด ช า ว บ้ า น ได้นำ” เหล็ก “ มาค้ำยัน ทั้ง 4 มุม เพิ่มเติมเพื่อ ช่ ว ย เสริมพยุงและรับน้ำหนักของอาคารไม้ไม่ให้หักหรือพังโค่นลงมาได้
เป็นงานภูมิปัญญาสถาปัตยกรรม โ บ ร า ณ สร้างด้วยฝีมือของ ช า ว บ้ า น ล้วนๆ ออกแบบกันได้แบบสุดยอดเลยทีเดียว แข็งแรง ทดทาน อยู่ ม า ก ย า ว นานกว่า 60 ปี ก็ยังไม่พัง เหลือไว้ให้ลูกหลานได้ชม
ขอบคุณที่มาข้อมูล daratop